NEW STEP BY STEP MAP FOR วิกฤตคนจน

New Step by Step Map For วิกฤตคนจน

New Step by Step Map For วิกฤตคนจน

Blog Article

คู่มือหรือแนวทางการให้บริการสำหรับผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ

สำหรับช่องว่างนี้ ดร.บัณฑิต นิจถาวร อธิบายว่า “เกิดจากระบบแรงจูงใจทางเศรษฐกิจที่ผิดพลาด ที่เป็นผลจากการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจ ทำให้ภาคอุตสาหกรรมในประเทศไม่มีการพัฒนา ไม่มีนวัตกรรม ไม่มีการลงทุนใหม่ ไม่มีสินค้าใหม่ๆ ที่จะไปแข่งขันกับต่างประเทศเพื่อสร้างรายได้ ขณะเดียวกันภาคธุรกิจ โดยเฉพาะบริษัทใหญ่ ก็ได้รับการปกป้องในการทำธุรกิจในประเทศ จนทำให้การทำธุรกิจในประเทศมีการแข่งขันน้อย ธุรกิจขนาดใหญ่มีอิทธิพลมากจากสัดส่วนตลาดที่มีสูงและความใกล้ชิดกับผู้ทำนโยบาย สิ่งเหล่านี้ทำให้การแข่งขันที่มีน้อยเป็นข้อจำกัดต่อผู้ประกอบการรายใหม่ ธุรกิจขนาดกลางและธุรกิจจากต่างประเทศ ผลคือไม่มีแรงจูงใจให้เกิดการลงทุนในประเทศโดยผู้เล่นรายใหม่และเศรษฐกิจเสียโอกาส นี่คืออีกประเด็นที่ลืมไม่ได้และต้องแก้ไข เพื่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในระยะยาว”

กฎหมาย ‘จริยธรรม’ บีบงานวิจัย? เมื่อสังคมค้าน จนรัฐบาลถอยกลับไปทบทวน

อย่างไรก็ตาม การซื้อลอตเตอรี่ไม่ได้เป็นพฤติกรรมที่ไม่สมเหตุสมผล หรือเป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมเสมอไป เพราะผลตอบแทนที่ได้รับจากการซื้อลอตเตอรี่นั้นไม่ได้มีเพียงเงินรางวัลอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงความสนุกตื่นเต้นจากการได้ลุ้นว่าตนเองจะถูกรางวัลหรือไม่ และความสุขจากการได้รู้สึกว่าตนเองมีความหวังที่จะหลุดพ้นจากความยากจน หมายความว่า ถึงแม้โอกาสหลุดพ้นความยากจนจะไม่มากในความเป็นจริง แต่ความสุขและความสนุกที่ได้ถือเป็นสิ่งตอบแทนจากการจ่ายเงินซื้อลอตเตอรี่ คล้ายกับการที่คนยอมจ่ายเงินเพื่อซื้อความบันเทิงรูปแบบอื่น

นอกจากในไทยแล้ว คำถามนี้ก็เป็นสิ่งที่นักเศรษฐศาสตร์ทั่วโลกตั้งคำถามเช่นกันว่า ‘ความจน’ แท้จริงแล้วเป็นอย่างไร แล้วเรานำระดับตัวเลขรายได้มาชี้วัดได้จริงหรือไม่ และถ้าวัดได้ ระดับรายได้ที่ทำให้คนยากจนแท้จริงแล้วคือเท่าไหร่ เพราะแน่นอนว่าความยากจนไม่ได้ขึ้นอยู่กับระดับรายได้เท่านั้น แต่ยังขึ้นอยู่กับการเข้าถึงทรัพยากร และโอกาสในการทำมาหากิน ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าคนๆ นั้น อยู่ในพื้นที่ใด อายุเท่าไหร่ เชื้อชาติอะไร และนิยามตัวเองว่าเป็นเพศไหน ทำให้การนิยามคนจนเป็นเรื่องละเอียดอ่อนจนไม่สามารถนำตัวเลขเดียวมาวัดได้

เพราะ ‘ความจริง’ เป็นจำนวนมากในสังคมไทย ไม่ต้องใช้ดาวเทียมส่องดู ก็รู้ว่าแย่แค่ไหน

ไม่พลาดบทความงานวิจัย ข่าวสาร และกิจกรรมใหม่ ๆ จาก itd กรอกอีเมล

"ฟาสต์แฟชั่น" อุตสาหกรรมเสื้อผ้าในกัมพูชากำลังทำร้ายแรงงานในโรงงานเผาอิฐ

ในขณะที่โลกมีเทคโนโลยีด้านข้อมูลใหม่ๆ มากมาย จนทำให้เกิดข้อมูลท่วมท้นมหาศาล ปัญหานี้ควรต้องมีทางออก ในโลกวิชาการจึงมีพัฒนาวิธีการเก็บข้อมูลและวัดดัชนีประเมินตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ‘ความยากจน’ โดยอาศัยเทคโนโลยีการเก็บข้อมูลที่ก้าวออกไปจากกรอบเดิมๆ ทำให้มีทางเลือกในการติดตามสถานการณ์ความยากจนและชี้เป้ากลุ่มเป้าหมายที่ต้องการความช่วยเหลือได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น  

คนจนหน้าตาแบบไหน? : เมื่อ วิกฤตคนจน “คนใน” มองความยากจนผ่านสายตาและน้ำเสียงของตัวเอง

คนจนจะหมดไป?: สำรวจสาเหตุความยากจน ที่แตกต่างกันของคนแต่ละภาค

เนื่องจากข้อมูลในประเทศไทยที่มีการนำมาศึกษายังเป็นข้อมูลภาคตัดขวาง งานส่วนใหญ่จึงเป็นเพียงการแสดงความสัมพันธ์ แต่ไม่ได้เป็นการดูสาเหตุที่แท้จริงนัก ในส่วนนี้ เราขอนำเสนอหลักฐานเชิงประจักษ์จากงานศึกษาในต่างประเทศเป็นหลัก โดยบางงานมีการใช้ข้อมูลที่ติดตามบุคคลคนเดิมตั้งแต่ก่อนมีปัญหาสุขภาพจิต จึงทำให้สามารถพอทำการศึกษาที่ระบุชี้สาเหตุได้ แต่บางงานยังเป็นเพียงการดูความสัมพันธ์

และโอกาสในการหลุดนอกระบบการศึกษาที่เพิ่มขึ้นจากปัญหาเศรษฐกิจ

ถ้าถามว่าทักษะอะไรที่สำคัญกับการ ‘หลุดพ้นความยากจน’ ต้องเข้าใจก่อนว่าความยากจนเกิดขึ้นจากอะไร ข้อเท็จจริงคือคนยากจนจะมีทักษะที่น้อยกว่า และมีทรัพยากรสำหรับจับจ่ายเพื่อเพิ่มทักษะน้อยกว่า เช่น การเรียนในระดับสูง หรือเรียนในสถาบันดี ๆ รวมถึงยังมีความเปราะบางเรื่องอื่น ๆ เช่นปัญหาสุขภาพความเจ็บป่วย ตกงาน ซึ่งทำให้ยิ่งไม่มีเวลาสะสมหรือเพิ่มพูนทักษะ

Report this page